วันเสาร์ที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2552
เคล็ดลับน่ารู้ - กินเพื่อสุขภาพ
วันศุกร์ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2552
**_เสริมสวยจากธรรมชาติ_**
ผลไม้ นอกจากรับประทานอร่อย มีประโยชน์ต่อร่างกายเพราะมีสารอาหารและวิตามิน นอกจากนี้ยังนำมาช่วยเสริมสวยได้ด้วย สำหรับผู้นิยมการทดลองเสริมความงามด้วยตนเอง มีผลไม้มากเหลือเกิน จะใช้ทดลองดังนี้
- นำเอา เปลือกแตงโม มาใส่เครื่องปั่น กรองเอาแต่น้ำ ใช้ล้างหน้า แล้วปล่อยทิ้งไว้ 15 นาที จึงล้างออก ลดความมันบนผิวหน้า มีคุณค่าเทียบได้กับแอสตริงเจ้น
เสริมสวยจากธรรมชาติ มีวิธีการที่ใช้ของใช้ของกินมาบำรุงบำเรอโฉม ซึ่งเชื่อกันว่าจะสามารถให้ผลได้ และทำเองได้หลายชนิดด้วยกัน ตัวอย่างดังนี้
- ใช้ นมเปรี้ยว ทำให้ทั่วใบหน้าและลำคอ ทิ้งไว้ครึ่งชั่วโมง แล้วล้างด้วยน้ำอุ่น จะทำให้ผิวหน้านุ่มเนียนละมุน
วันเสาร์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2552
Christmas
Although traditionally a Christian holiday, Christmas is widely celebrated by many non-Christians,[1][10] and some of its popular celebratory customs have pre-Christian or secular themes and origins. Popular modern customs of the holiday include gift-giving, Christmas carols, an exchange of greeting cards, church celebrations, a special meal, and the display of various decorations; including Christmas trees, lights, and garlands, mistletoe, nativity scenes, and holly. In addition, Father Christmas (known as Santa Claus in North America, Australia and Ireland) is a popular mythological figure in many countries, associated with the bringing of gifts for children.[11]
Because gift-giving and many other aspects of the Christmas festival involve heightened economic activity among both Christians and non-Christians, the holiday has become a significant event and a key sales period for retailers and businesses. The economic impact of Christmas is a factor that has grown steadily over the past few centuries in many regions of the world.
Christians celebrate Christmas in many ways. In addition to this day being one of the most important and popular for the attendance of church services, there are numerous other devotions and popular traditions. Prior to Christmas Day, the Eastern Orthodox Church practices the Nativity Fast in anticipation of the birth of Jesus, while much of the Western Church celebrates Advent. People decorate their homes, and exchange gifts. In some Christian denominations, children perform plays re-telling the events of the Nativity, or sing carols that reference the event. Some Christians also display a small re-creation of the Nativity, known as a Nativity scene or crib, in their homes, using figurines to portray the key characters of the event. Live Nativity scenes and tableaux vivants are also performed, using actors and live animals to portray the event with more realism.[15]
There is a very long tradition of producing painted depictions of the nativity in art. Nativity scenes are traditionally set in a barn or stable and include Mary, Joseph, the child Jesus, angels, shepherds and the Three Wise Men, Balthazar, Melchior, and Caspar, who are said to have followed a star, known as the Star of Bethlehem, and arrive after his birth.[16]
Christmas worldwide
Main article: Christmas worldwide
Christmas Day is celebrated as a major festival and public holiday in most countries of the world, even in many which are not majority Christian. In some non-Christian countries periods of former colonial rule introduced the celebration, in others, Christian minorities or foreign cultural influences have led populations to take it up. Major exceptions, where Christmas is not a formal public holiday, include China, (excepting Hong Kong and Macao), Japan, Saudi Arabia, Algeria, Thailand, Nepal, Iran, Turkey and North Korea.
While most countries celebrate Christmas on December 25 each year, some national churches including those of Russia, Georgia, Egypt, Armenia, the Ukraine and Serbia celebrate on January 7. This is because of their use of the traditional Julian Calendar, under which December 25 falls on January 7 as measured by the standard Gregorian Calendar.
Around the world, Christmas celebrations can vary markedly in form, reflecting differing cultural and national traditions. Countries like Japan and Korea where Christmas is popular despite there being only a small number of Christians, adopt many of the secular trappings of Christmas such as gift-giving, decorations and Christmas trees
วันพุธที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2552
เทคนิคการอ่านภาษาอังกฤษ
3. อย่าสะดุดนะเมื่อเจอคำศัพท์ที่ตนไม่รู้ นี่เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นกับคนส่วนมาก รวมทั้งเราที่เป็นหนึ่งในนั้น มันไม่จำเป็นเลยที่เราต้องรู้ความหมายของศัพท์ทุกตัว เพราะสามารถเดาความหมายได้จากบริบทคำแวดล้อมได้ จะได้ลองหัดเดาคำศัพท์ด้วยไง
4. จินตนาการ เป็นสิ่งที่สำคัญเพราะบางที่ทำให้เราได้เข้าใจสิ่งที่เค้าต้องการจะบอกได้ดีและพยายามเดาเรื่องราว วาดภาพในใจตามไปด้วยเช่นถ้ากล่าวถึงหมีแพนด้า เราก็จินตนาการภาพไปด้วยว่าหน้าตามันเป็นอย่างไร หรือว่ามันอาศัยอยู่ที่ไหน กินอะไรเป็นอาหาร ก็ทำให้เราเข้าใจเนื้อเรื่องมากขึ้น
5. พยายามสรุปในสิ่งที่อ่านเค้าต้องการบอกอะไร และสามารถตั้งคำถามเอง ตอบเองได้ และฝึกฝนด้วยการอ่านให้มากขึ้นก็มีเทคนิดการอ่านแต่ละประเภทแยกย่อยไปอีกแล้วเดี๋ยวมาแยกประเภทการอ่านอีกทีนะ ซึ่งตอนนี้เรากำลังปรับเปลี่ยนตัวเองให้ไม่ยึดติดกับการแปลความหมายคำต่อคำ นอกจากรูปประโยคที่แปลไม่สวย แล้วยังแปลผิดๆ ถูกๆ อีก
วันพุธที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
รวมเทคนิคการอ่านหนังสือสอบมาฝาก
วันอังคารที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
** งานองค์พระปฐมเจย์ดี **
วันเสาร์ที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2552
23 ตุลาคม วันปิยมหาราช
พระองค์ทรงโปรดให้มีการตั้งหอพระสุมดสำหรับพระนคร โดยรวมหอพระสมุดเดิม 3 นคร ในปี พ.ศ. 2417 ตั้งโบราณคดีสโมสร ในปี พ.ศ. 2450
วันจันทร์ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2552
เคล็ดลับการทำข้อสอบ
1.เตรียมอุปกรณ์การสอบไปให้พร้อม เช่น ปากกา ยางลบ ไม้บรรทัดรวมทั้งบัตรประจำตัวด้วย
2.ถ้าเลือกได้ให้เลือกที่นั่งที่ไร้สิ่งรบกวนและคุณรู้สึกสบาย มีอากาศถ่ายเทสะดวก ไม่มีเสียงที่ดังเกินไปรบกวน
3.อ่านคำสั่งของข้อสอบให้เข้าใจ ถ้ามีปัญหาอะไรให้ถามผู้คุมสอบทันทีจะได้ไม่มีปัญหาว่าทำข้อ สอบผิด
4.ขีดเส้นใต้คำสำคัญ เช่น ไม่ เหตุใด และพิจารณาให้ดีว่าในคำถามหนึ่งข้อมีคำถามย่อยหรือไม่
5.เรียบเรียงความคิดว่าจะตอบคำถามแต่ละข้ออย่างไร
6.จัดแบ่งเวลาสำหรับการทำข้อสอบแต่ละข้อ โดยเฉพาะถ้าเป็นข้อสอบแบบอัตนัย
7.ควรทำข้อสอบส่วนที่มีสัดส่วนคะแนนมากที่สุดก่อน หรือถ้าทำไม่ได้ ให้ทำส่วนที่คิดว่าทำได้แน่นอน อย่างน้อยจะได้มีคะแนนบ้าง
8.ถ้าเป็นข้อสอบเขียนบรรยายก็ควรเขียนด้วย ลายมือที่อ่านง่าย ใช้ปากกาสีน้ำเงินหรือสีดำ จะได้สบายตาผู้ตรวจ และกระดาษคำตอบควรจะสะอาดเรียบร้อย
9.ตรวจความถูกต้องอีกครั้งก่อนส่งข้อสอบ ดูว่าทำถูกต้องตามคำสั่งหรือไม่ ตอบคำถามครบหรือเปล่า
10.หากพบสิ่งผิดปกติในห้องสอบ หรือมีสิ่งรบกวนการสอบ เช่น นอกห้องดังเกินไป ให้บอกผู้คุมสอบทันที
แต่พึงคิดไว้เสมอว่าไม่ว่าเราจะมีเคล็ดลับในการทำข้อสอบดีเลิศซักขนาดไหน สุดท้ายคะแนนสอบจะดีหรือไม่ดีอย่างไรมันก็อยู่ที่ตัวเราว่าเราได้ทุ่มเทให้มันเพียงพอหรือยัง อย่าลืมตั้งใจอ่านหนังสือกันนะค่ะ
วันเสาร์ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2552
แนะนำเรื่องการเรียนภาษาอังกฤษ เพื่อคนไทยได้เก่งอังกฤษเยอะๆๆ
สำหรับนักเรียน นิสิตนักศึกษา เป็นช่วงที่กำลังเข้าใกล้ระยะเวลาแห่งการสอบ หากท่านใดเริ่มหรือเตรียมตัว ในการสอบก่อนเนิ่นๆ ย่อมจะมีความพร้อม ความมั่นใจ ในการเข้าสู่ห้วงเวลาแห่งการแข่งขัน ซึ่งต่างกับผู้ที่ไม่ได้เตรียมตัวมา สำหรับการสอบแล้ว ต้องเกี่ยวข้องกับเวลาที่จำกัด ดังนั้นย่อมต้องอาศัยเทคนิคการทำข้อสอบ ดังนั้นผมขอแนะนำเทคนิคเกี่ยวกับการทำข้อสอบภาษาอังกฤษ โดยเริ่มต้นจากเทคนิคการทำข้อสอบการอ่านภาษาอังกฤษ (Reading) นะครับ
ข้อสอบการอ่านภาษาอังกฤษนั้นประกอบด้วยเนื้อเรื่องที่เกี่ยวข้องกับเรื่องราวต่างๆ ที่ผู้สอบต้องทำความเข้าใจ แล้วตอบคำถาม ซึ่งผู้สอบย่อมต้องมีทักษะหลายๆ ประการ ดังนั้น
2. เข้าใจในโครงสร้างหลักภาษาอังกฤษ (English Structure หรือ Grammar)ตามหลักการเขียนภาษาอังกฤษนั้น จะเริ่มจากการนำคำศัพท์มาเรียงกันให้เกิดประโยค เมื่อประโยค หลายๆ ประโยคมารวมกันก็จะกลายเป็นย่อหน้า และเมื่อแต่ละย่อหน้ามาประกอบกันจะได้เนื้อเรื่อง ดังนั้นการรวมกันของศัพท์เพื่อให้ได้ประโยคย่อมต้องอาศัยหลักการโครงสร้างภาษาอังกฤษที่จะต้องประกอบด้วยส่วนสำคัญหลัก
ดังนั้นการรู้ประเภทของคำในศัพท์ เช่น คำนาม (Noun) คำกริยา (Verb) คำสรรพนาม (Pronoun) หรือ คำอื่นๆ จะทำให้เราได้ทราบถึงตำแหน่งและหน้าที่การวางคำในประโยคตามหลักไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ
วันจันทร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2552
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง
ทิศเหนือ จดทะเล ท้องที่ ต.บางปิด ต.คลองใหญ่ อ.แหลมงอบ จ.ตราด
ทิศใต้ จดทะเล ท้องที่ ต.เกาะหมาก กิ่งอำเภอเกาะกูด จ.ตราด
ทิศตะวันออก จดทะเล ท้องที่ ต.แหลมงอบ อ.แหลมงอบ จ.ตราด
ทิศตะวันตก จดทะเล ท้องที่ ต.เกาะช้าง กิ่งอำเภอเกาะช้าง จ.ตราด
ลักษณะภูมิประเทศ
ในจำนวนกว่า 40 เกาะ ของอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง มีเกาะช้างเป็นเกาะที่ใหญ่ ที่สุดห่างจากแหลมงอบประมาณ 8 กิโลเมตร พื้นที่ทอดยาวจากเหนือลงมาทิศตะวันออกเฉียงใต้ ประมาณ 30 กิโลเมตร กว้างประมาณ 14 กิโลเมตร เกาะช้างเป็นเกาะที่ใหญ่เป็นอันดับสามประเทศไทยรองจากเกาะภูเก็ตและเกาะสมุย แต่พื้นที่อุทยานแห่งชาติไม่ได้ครอบคลุมเกาะช้างทั้งหมด มีบางส่วนที่เป็นส่วนของกิ่งอำเภอเกาะช้าง มีราษฎรอาศัยอยู่ ส่วนในพื้นที่ของอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง ส่วนที่เป็นพื้นดินส่วนใหญ่ของเกาะช้างมีลักษณะภูมิประเทศเป็น ภูเขาเกือบตลอดทั้งเกาะ เช่น เขาล้าน เขาจอมปราสาท เขาคลองมะยม เขาสลักเพชร ยอดเขาใหญ่เป็นยอดเขาที่สูง ที่สุดมีความสูง 743 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
โครงสร้างทางธรณีส่วนใหญ่ในพื้นที่เป็นหินอัคนีในยุคไทรแอสซิกมีช่วงอายุ 195-230 ล้านปีมาแล้ว มีที่ราบตามชายฝั่งทะเลในบริเวณหมู่บ้านสลักเพชร หมู่บ้านสลักคอก หมู่บ้านคลองสน และอ่าวคลอง พร้าว แม่น้ำลำธารในเกาะช้างเป็นคลองสายสั้นๆ ที่น้ำทะเลเข้าถึง ต้นคลองเป็นห้วยน้ำจืดไหลมาจากน้ำตก ซึ่งเป็นสภาพหุบเขาหลังอ่าวต่างๆ ไหลแทรกไปตามบริเวณป่าชายเลนแล้วไหลลงสู่ทะเลรอบๆ คลองที่สำคัญได้แก่ คลองสน คลองมะยม คลองค้างคาว คลองบางเบ้า คลองพร้าว คลองนนทรี เป็นต้น ลำน้ำเหล่านี้ยังก่อให้เกิดน้ำตกที่สวยงามหลายแห่ง เช่น น้ำตกธารมะยม น้ำตกคลองพลู น้ำตกคลองนนทรี น้ำตกคีรีเพชร และน้ำตกคลองหนึ่ง นอกจากนี้ชายฝั่งตะวันออกของเกาะ จะมีหาดโคลนและหินเป็นหาดหน้าแคบ ส่วนหาดทางด้านตะวันตก จะเป็นหาดทรายและหิน
ลักษณะภูมิอากาศ
ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่ เดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคมของทุกปี เป็นช่วงเวลาที่ได้รับอิทธิพลจาก มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่ เดือนพฤศจิกายน ถึง กุมภาพันธ์ ในระยะนี้มีมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดปกคลุมพื้นที่ ทำให้อุณหภูมิลดลงอากาศหนาวเย็น ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือน มีนาคมถึงเดือนเมษายน ในระยะนี้ดวงอาทิตย์กำลังเคลื่อนผ่านเส้นศูนย์สูตรไปทางซีกโลกเหนือ ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือมีกำลังอ่อนค่อนข้างจะแปรปรวน มีฝนตกน้อยทำให้อากาศร้อนอบอ้าว โดยเฉพาะในเดือนเมษายน
พันธุ์ไม้และสัตว์ป่า
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง มีความหลากหลายของพืชพรรณมาก ส่วนใหญ่เป็น ป่าดงดิบชื้น เป็นป่าที่ค่อนข้างห่างจากชายฝั่ง พืชพรรณธรรมชาติส่วนใหญ่เป็นไม้สกุลพลอง สารภีป่า และไม้ในสกุลหว้า ขึ้นปนอยู่ประปราย พันธุ์ไม้ที่สำคัญได้แก่ ยางนา กระบาก ตะเคียนทอง ทะโล้ พญาไม้ เปล้า หลาวชะโอน เต่าร้าง หวาย เตยย่าน กล้วยไม้ ไผ่ เร่ว กระวาน ฯลฯ มีที่ราบตามชายฝั่งทะเลในบริเวณหมู่บ้านสลักเพชร หมู่บ้านสลักคอก หมู่บ้านคลองสน และอ่าวคลองพร้าว พืชพรรณธรรมชาติที่พบเป็น ป่าชายหาด ลักษณะเป็นป่าโปร่งมีพรรณไม้ขึ้นอยู่ไม่กี่ชนิด เช่น หูกวาง สารภีทะเล เมา เสม็ด เตยทะเล เป็นต้น ตามชายฝั่งที่เป็นดินเลนบริเวณอ่าวและปากคลองลำธารต่างๆ จะพบ ป่าชายเลน พันธุ์ไม้ที่สำคัญได้แก่ โกงกางใบใหญ่ โกงกางใบเล็ก โปรงขาว แสม พังกาหัวสุม ถั่วดำ แสม ตะบูน ปอทะเล และตีนเป็ดทะเล และ ป่าพรุ เป็นสังคมพืชที่เกิดขึ้นบริเวณที่มีน้ำขังตลอดปี บริเวณอ่าวสลักคอกและอ่าวสลักเพชร พันธุ์ไม้ที่พบได้แก่ เหงือกปลาหมอ และกก เป็นต้น
หมู่เกาะช้าง ไม่มีการทับถมของตะกอนโคลนเลนจากแม่น้ำ จึงทำให้หมู่เกาะเหล่านี้มีหาดทรายที่ ขาวสะอาด น้ำทะเลใสสวย และอุดมสมบูรณ์ด้วยสรรพชีวิตใต้ท้องทะเล โดยเฉพาะสิ่งมีชีวิตในแนวปะการัง เช่น ปะการังก้อน ปะการังเขากวาง ปะการังพุ่ม ปะการังแผ่น หอยมือเสือ ดอกไม้ทะเล ปลาสวยงามในแนวปะการัง กัลปังหา สาหร่าย พบได้ในบริเวณเกาะช้างน้อย ทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะช้าง เกาะหยวก เกาะมันนอก เกาะคลุ้ม เกาะหวาย เกาะเหลายา เกาะง่าม เกาะรัง เกาะกระ และบริเวณเรือรบหลวงชลบุรี และเรือรบหลวงสงขลาที่จมอยู่ใกล้บริเวณอ่าวสลักเพชร
จากการสำรวจประชากรสัตว์ป่า เมื่อปี 2535 พบว่า อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้างมี สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 29 ชนิด ได้แก่ หมูป่า เก้ง ลิงเสน ค่างหงอก ชะมะเช็ด พังพอนธรรมดา ค้างคาว กระรอก และหนู เป็นต้น มี นก ทั้งหมด 74 ชนิด เป็นนกที่มีถิ่นถาวรในประเทศไทยและไม่อพยพย้ายถิ่น 61 ชนิด ได้แก่ นกยางทะเล นกปรอดหน้านวล นกตบยุง นกนางแอ่นแปซิฟิก นกกวัก และนกแก๊ก เป็นต้น เป็นนกอพยพเข้ามาในประเทศไทยในช่วงฤดูหนาว 8 ชนิดได้แก่ นกยางเขียว นกหัวโตทรายใหญ่ นกนางนวลแกลบดำปีกขาว นกน็อตตี้ นกขมิ้นท้ายทอยดำ นกกระจี๊ดขาสีเนื้อ นกกระจี๊ดขั้วโลกเหนือ และนกนางแอ่นบ้าน เป็นนกอพยพเพื่อผสมพันธุ์ 2 ชนิด คือ นกแต้วแล้วอกเขียว และนกแต้วแล้วธรรมดา ส่วนนกอพยพผ่านในฤดูกาลอื่นๆ 3 ชนิด คือ นกจับแมลงสีฟ้าท้องขาว นกจับแมลงคอสีน้ำเงินเข้ม และนกกระจี๊ดหัวมงกุฎ นอกจากนี้ยังมี สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกและสัตว์เลื้อยคลาน 42 ชนิด ได้แก่ ตะพาบน้ำ ตะกวด เหี้ย งูเหลือม งูสิง งูจงอาง และกบเกาะช้าง (เป็นสัตว์ประจำถิ่นใน ป่าดงดิบชื้นบริเวณเกาะช้างและเกาะใกล้เคียง)
วันเสาร์ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2552
เทคนิคการอ่านหนังสือสอบ
วันจันทร์ที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2552
หลักการอ่านหนังสือเตรียมสอบ (ของสายศิลป์)
3.สมาธิ.. อย่าดูถูกวิธีโบราณ มันช่วยได้จริง...ก้อการนั่งสมาธิไงล่ะ ลองเปิดเพลงไปด้วย ถ้าคุณมีสมาธิจริงคุณจะไม่ได้ยินเสียงเพลงเลย (ไม่ใช่นั่งไปคิดไป เมื่อไหร่เพลงจะหาย..ยังงี้ไม่ได้นะคะ เพราะเท่ากับคุณนั่งฟังเพลง) คิดว่าเรามีลูกแล้วอยู่ในร่างกาย แล้วมันวิ่งขึ้นวิ่งลงช้าๆ ไปเรื่อยๆ
เคยอ่านข้อสอบรอบนึง แล้วไม่รู้ว่าข้อสอบถามอะไรมั้ย นั้นล่ะ คุณกำลังขาดสมาธิ หายใจเข้า-ออกยาวๆ และพยายามทบทวนอยู่เสมอว่าเมื่อกี้เราคิดอะไรอยู่ ให้จดจ่อกับเรื่องที่อ่านไปเรื่อยๆ อย่าให้เส้นสมองขาดตอนนะ
4.กำลังใจ... ถ้าใน 3 ข้อแรก คุณทำอะไรไม่สำเร็จเลย แปลว่าคุณขาดกำลังใจ ขาดแรงฮึดสู้ หรือง่ายๆว่า คุณไม่อยากเอนท์ มีหลายสาเหตุ
- เข้าที่ไหนก็ได้...อย่าโกหกตัวเอง เพียงเพราะว่าคุณเป็นคนขี้เกียจ ใครๆก็อยากเอนติดกันทั้งนั้น คุณบอกว่าคุณไม่หวัง คุณบอกว่าคุณขี้เกียจอ่านและไม่เอาอะไรแล้วในชีวิตดีกว่า จริงอยู่ เอน..ไม่ใช่ทุกสิ่ง แต่เมื่อคุณีโอกาส ทำไมไม่ตั้งใจทำให้มันดี - ประชดคนบางคน... โถๆๆ อย่าเอาคนอื่นมาตัดสินชะตาชีวิตตัวเองแบบนี้เป็นอันขาด ไม่ว่าแม่คุณจะประกาศแก่แม่ค้าทั้งตลาดว่าคุณไม่มีทางเอนติด หรือ พร่ำหวังให้คุณติด มหิดล-จุฬา ทั้งสองอย่างทำให้คุณหดหู่จนไม่อยากทำให้เขาสมน้ำหน้าคุณอย่าไปสนใจดีกว่า...บอกแล้วไง คุณทำเพื่ออนาคตคุณเอง เปลี่ยนแรงกดดันนั้นให้เป็นแรงฮึดสู้...(กูจะติดแพทย์ศิริราชให้ดู..ว่างั้น)
ยังไงก็แล้วแต่ คุณต้องอ่านเยอะๆ อ่านหลายๆ รอบ อ่านจนสามารถพูดสรุปออกได้เป็นฉากๆ ไม่ใช่ท่องจำ แต่มันคือการฝังลงไปในหัวที่พร้อมจะเรียกใช้เมื่อไหร่ก็ได้ อย่าไปมัวท่อง(ขอเน้น..อย่า!!!) อ่านบ่อยๆเท่านั้นที่ช่วยได้ อ่านครั้งแรกคุณจะรู้สึกสมองโล่งและคิดในใจว่า คุณจะจำได้ซักกี่คำกัน แต่ครั้งที่ 2 เฮ้ย!! คำนี้มันคุ้นๆ (หลังจากนั้นไปตามหาว่ามันแปลว่าไร ขอย้ำ!! ไม่ต้องท่อง) ครั้งที่ 3 คุณจะจำได้เองอย่างไม่น่าเชื่อ...สาธุ
สำหรับคนที่เรียนพิเศษแล้วไม่เข้าใจ...ฉันเองก็เคยสอนพิเศษ สามารถบอกได้เลย คนที่ไม่ฟัง เอาแต่จด เอาแต่อ่านในหนังสือน่ะ พลาดโอกาสอันดีไปนะ เพราะเนื้อหาส่วนใหญ่อยู่ที่ปากคนสอน คุณจะเข้าใจมั้ยก้ออยู่ที่คนสอน เช่นเวลาไปเรียนแบรนด์ บางคนนั่งอ่านในหนังสือแล้วคิดว่า เค้าพูดถึงไหนแล้ว...กว่าจะคิดได้ว่าที่เขาพูดไม่มีในหนังสือ คุณก็จดไม่ทันแล้วล่ะ หนังสือนั่นน่ะมันไม่ไปไนหรอก คุณจะอ่านเมื่อไหร่ก็ได้ คุณจะเอาเวลาว่างมาท่องทั้งเล่มก็ไม่มีใครว่า
**ถ้าเป็นไปได้เวลาเรียนพิเศษ ฟังที่อาจารย์พูด ฟังทุกคำ ไม่ใช่เหม่อลอยคำที่ 2 กลับมาฟังอีกทีคำที่ 8 ...ชาติหน้าตอนบ่ายๆ คงเข้าใจ แต่ก็ไม่ใช่ฟังแล้วเขี้ยนตามคำบอก...จงฟังแล้วคิด แล้วเขียนอย่างที่ตัวเองเข้าใจ เมื่อจบคอร์สเอามาเรียบเรียงให้เป้นภาษาคน แล้วอ่านซ้ำ (หลายๆรอบ เอาให้จำได้) เราจะรู้ได้เลยว่า อ๋อ บรรทัดนี้ อาจารย์เค้าสอนไว้ว่าไงบ้าง **
...ขอแนะนำขั้นสุดท้ายว่า ม.5 เทอม 2 ควรจะเรียนพิเศษให้เสร็จ (ในกรณีที่เอนครั้งเดียวเดือนกุมภา) พอขึ้นม.6ก็ควรจะเริ่มจำที่เรียนๆ มาได้แล้ว อย่าหวังว่าจะไปอ่านที่โรงเรียน มันไม่สามารถอ่านจนจับประเด็นได้เลย เว้นแต่จะเอาเลขไปทำเล่นๆ แต่ถ้าอีก 3 เดือนแล้วไม่มีไรในหัวเลย ขอแนะนำให้ทำข้อสอบย้อนหลักซัก 15 ปี ส่วนคนที่อ่านพร้อมแล้วทำ 7 ปีก้อพอ...
วันเสาร์ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2552
วันสารทจีน
ตำนานนี้กล่าวไว้ว่าวันสารทจีนเป็นวันที่เซ็งฮีไต๋ตี๋ (ยมบาล) จะตรวจดูบัญชีวิญญาณคนตาย ส่งวิญญาณดีขึ้นสวรรค์และส่งวิญญาณร้ายลงนรก ชาวจีนทั้งหลายรู้สึกสงสารวิญญาณร้ายจึงทำบุญอุทิศส่วนกุศลให้ ดังนั้นเพื่อให้วิญญาณร้ายออกมารับกุศลผลบุญนี้จึงต้องมีการเปิดประตูนรกนั่นเอง
ตำนานที่ 2
มีชายหนุ่มผู้หนึ่งมีนามว่า “มู่เหลียน” (พระโมคัลลานะ) เป็นคนเคร่งครัดในพุทธศาสนามาก ผิดกับมารดาที่เป็นคนใจบาปหยาบช้าไม่เคยเชื่อเรื่องนรก-สวรรค์มีจริง ปีหนึ่งในช่วงเทศกาลกินเจนางเกิดความหมั่นไส้คนที่นุ่งขาวห่มขาวถือศีลกินเจ นางจึงให้มู่เหลียนไปเชิญผู้ถือศีลกินเจเหล่านั้นมากินอาหารที่บ้านโดยนางจะทำอาหารเลี้ยงหนึ่งมื้อ
ผู้ถือศีลกินเจต่างพลอยยินดีที่ทราบข่าวว่ามารดาของมู่เหลียนเกิดศรัทธาในบุญกุศลครั้งนี้ จึงพากันมากินอาหารที่บ้านของมู่เหลียนแต่หาทราบไม่ว่าในน้ำแกงเจนั้นมีน้ำมันหมูเจือปนอยู่ด้วย การกระทำของมารดามู่เหลียนนั้นถือว่าเป็นกรรมหนัก เมื่อตายไปจึงตกนรกอเวจีมหานรกขุมที่ 8 เป็นนรกขุมลึกที่สุดได้รับความทุกข์ทรมานแสนสาหัส
เมื่อมู่เหลียนคิดถึงมารดาก็ได้ถอดกายทิพย์ลงไปในนรกภูมิ จึงได้รู้ว่ามารดาของตนกำลังอดอยากจึงป้อนอาหารแก่มารดา แต่ได้ถูกบรรดาภูตผีที่อดอยากรุมแย่งไปกินหมดและเม็ดข้าวสุกที่ป้อนนั้นกลับเป็นไฟเผาไหม้ริมฝีปากของมารดาจนพอง แต่ด้วยความกตัญญูและสงสารมารดาที่ได้รับความทุกข์ทรมานอย่างสาหัสมู่เหลียนได้เข้าไปขอพญาเหงี่ยมล่ออ๊อง (ยมบาล) ว่าตนของรับโทษแทนมารดา
แต่ก่อนที่มู่เหลียนจะถูกลงโทษด้วยการนำร่างลงไปต้มในกระทะทองแดง พระพุทธเจ้าได้เสด็จลงมาโปรดไว้ได้ทัน โดยกล่าวว่ากรรมใดใครก่อก็ย่อมจะเป็นกรรมของผู้นั้นและพระพุทธเจ้าได้มอบคัมภีร์อิ๋ว หลันเผิน ให้มู่เหลียนท่องเพื่อเรียกเซียนทุกทิศทุกทางมาช่วยผู้มีพระคุณให้หลุดพ้นจากการอดอยากและทุกข์ทรมานต่างๆ ได้ โดยที่มู่เหลียนจะต้องสวดคัมภีร์อิ๋ว หลันเผินและถวายอาหารทุกปีในเดือนที่ประตูนรกเปิดจึงจะสามารถช่วยมารดาของเขาให้พ้นโทษได้
นับแต่นั้นเป็นต้นมา ชาวจีนจึงได้ถือเป็นประเพณีปฏิบัติสืบต่อมากันโดยตลอดด้วยการเซ่นไหว้ โดยจะนำอาหารทั้งคาวหวาน และกระดาษเงินกระดาษทองไปวางไว้ที่หน้าบ้านหรือตามทางแยกที่ไม่ไกลนัก มีนัยว่าเป็นการเบี่ยงเบนความสนใจของบรรดาวิญญาณเร่ร่อนที่กำลังจะผ่านมาใกล้ที่พักของตน
จะไหว้ในตอนเช้า มีอาหารคาวหวาน ขนมที่ไหว้ก็ขนมถ้วยฟู กุยช่าย ส่วนขนมไหว้พิเศษที่ต้องมีซึ่งเป็นประเพณีของสารทจีนคือขนมเทียน ขนมเข่ง ซึ่งต้องแต้มจุดสีแดงไว้ตรงกลาง เนื่องจากชาวจีนมีความเชื่อที่ว่าสีแดงเป็นสีแห่งความเป็นศิริมงคล นอกจากนั้นก็มีผลไม้ น้ำชา หรือเหล้าจีน และกระดาษเงินกระดาษทอง
คล้ายของไหว้เจ้าที่พร้อมด้วยกับข้าวที่บรรพบุรุษชอบ ตามธรรมเนียมต้องมีน้ำแกงหรือขนมน้ำใสๆ วางข้างชามข้าวสวย และน้ำชาจัดชุดตามจำนวนของบรรพบุรุษ ขาดไม่ได้ก็คือขนมเทียน ขนมเข่ง ผลไม้และกระดาษเงินกระดาษทอง
วิญญาณเร่ร่อนหรือวิญญาณไม่มีญาติ เรียกว่า ไป๊ฮ๊อเฮียตี๋ แปลว่า ไหว้พี่น้องที่ดี เป็นการสะท้อนความสุภาพและให้เกียรติของคนจีน เรียกผีไม่มีญาติว่าพี่น้องที่ดีของเรา โดยการไหว้จะไหว้นอกบ้านของไหว้จะมีทั้งของคาวหวานและผลไม้ตามต้องการและที่พิเศษคือมีข้าวหอมแบบจีนโบราณ คอปึ่ง เผือกนึ่งผ่าซีกเป็นเสี้ยวใส่ถาด เส้นหมี่ห่อใหญ่ เหล้า น้ำชา และกระดาษเงินกระดาษทองจัดทุกอย่างวางอยู่ด้วยกันสำหรับเซ่นไหว้
วันศุกร์ที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2552
Baguette
A baguette (pronounced /bæ'gɛt/) is a specific shape of bread, commonly made from basic lean dough, a simple guideline set down by French law, distinguishable by its length, very crisp crust, and slits cut into it to enable proper expansion of gasses and thus formation of the crumb, the inner soft part of bread. The standard diameter of a baguette is approximately 5 or 6 cm, but the bread itself can be up to a meter in length, though usually about 60cm. A Parisian baguette typically weighs 250 grams (8.8 oz), but this is not legally regulated and varies by region[1]. It is also known in English as a French stick or a French bread.
History
The "baguette" is sometimes said to be a descendant of the pain viennois, bread first developed in Vienna, Austria in the mid-19th century when deck ovens, or steam ovens, were first brought into common use. Deck/steam ovens are a combination of a gas-fired traditional oven and a brick oven, a thick "deck" of stone or firebrick heated by natural gas instead of wood. The first such oven was brought (in the early nineteenth century) to Paris by the Austrian officer August Zang, whom some French sources thus credit with originating the (probably twentieth century) baguette.[2]
Deck ovens use steam injection, through various methods, to create the proper baguette. The oven is typically well over 205 °C (400 °F), the steam allows the crust to expand before setting, thus creating a lighter, more airy loaf.
The baguette today is often considered one of the symbols of French culture viewed from abroad, but the association of France with long loaves predates its creation. These had been made since the time of Louis XIV, and in fact could be far longer than the baguette: "loaves of bread six feet long that look like crowbars!" (1862)[3]; "Housemaids were hurrying homewards with their purchases for various Gallic breakfasts, and the long sticks of bread, a yard or two in length, carried under their arms, made an odd impression upon me." (1898)[4]
But, states an article in the Economist, in October 1920 a law prevented bakers from working before 4am, making it impossible to make the traditional, round loaf in time for customers' breakfasts. The slender baguette solved the problem because it could be prepared and baked much more rapidly. [1] Unfortunately, the article is not sourced. The law in question appears in fact to be one from March 1919, though some say it took effect on October 1920: "It is forbidden to employ workers at bread and pastry making between ten in the evening and four in the morning."[5]. The rest of the account remains to be verified, but the baguette - that is, a much thinner, crustier version of the several traditional "pains longs" - does appear to be a twentieth century innovation.
Manufacture and styles
The "baguette de tradition française" is made from wheat flour, water, yeast, and common salt. It does not contain additives, but it may contain broad bean flour (max 2%), soya flour (max 0.5%), wheat malt flour (max 0.3%) [2].
While a regular baguette is made with a direct addition of baker's yeast, it is not unusual for artisan-style loaves to be made with a poolish, "biga" or other bread pre-ferments to increase flavor complexity and other characteristics, as well as the addition of whole wheat flour or other grains such as rye. French bread is required by law to avoid preservatives, and as a result bread goes stale in under 24 hours, thus baking baguettes is a daily occurrence, unlike sourdough bread which is baked generally once or twice a week, due to the natural preservatives in a sourdough starter.
Baguettes are closely connected to France and especially to Paris, though they are made around the world. In France, not all long loaves are baguettes; for example, a short, almost rugby ball shaped loaf is a bâtard, or bastard in English, originally a way to use up leftover dough, but now a common shape with similar weight to that of a baguette, another tubular shaped loaf is known as a flûte (also known in the United States as a parisienne) flûtes are generally half the length, twice the width, and approximately the same weight as baguettes, and a thinner loaf is called a ficelle. French breads are also made in forms such as a miche, which is a large pan loaf, and a boule, literally ball in French, a large round loaf. Sandwich-sized loaves are sometimes known as demi-baguettes, tiers, or sometimes "Rudi rolls".
Baguettes, either relatively short single-serving size or cut from a longer loaf, are very often used for sandwiches (usually of the submarine sandwich type, but also panini); Baguettes are often sliced and served with pâté or cheeses. As part of the traditional continental breakfast in France, slices of baguette are spread with jam and dunked in bowls of coffee or hot chocolate. In the United States, French Bread loaves are sometimes split in half to make French bread pizza.
Baguettes are generally made as partially free-form loaves, with the loaf formed with a series of folding and rolling motions, raised in cloth-lined baskets or in rows on a flour-impregnated towel, called a couche, and baked either directly on the hearth of a deck oven or in special perforated pans designed to hold the shape of the baguette while allowing heat through the perforations. These pans are never used in artisan-style baking, only in the Americanized version of the traditional baking process, which commonly uses frozen bread dough, sometimes called "thaw and bake", generally a cut-down among artisan-style bakers. Generally American style "French Bread" is much fatter, generally meaning over-proofed, and also scored incorrectly according to French baking tradition and not baked in deck ovens, but in convection ovens. The resulting loaf is much larger, softer, less chewy, and possessing a much more even crumb structure, in contrast to the traditional baguette which is slender, chewy, possesses an uneven and holey crumb structure, and crispy crust.
Outside France, baguettes are also made with other doughs; for example, the Vietnamese bánh mì uses a high proportion of rice flour, while many North American bakeries make whole wheat, multigrain, and sourdough baguettes alongside traditional French-style loaves. In addition, even classical French-style recipes vary from place to place, with some recipes adding small amounts of milk, butter, sugar, or malt extract depending on the desired flavour and properties in the final loaf.