วันเสาร์ที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2552

หมีแพนด้า

หมีแพนด้า


ลักษณะเด่นลักษณะที่โดดเด่นของ หมีแพนด้า คือมีขนสีดำและสีขาว บริเวณหัว คอ ตะโพก จะมีสีขาว ส่วนรอบๆตาทั้งสองข้าง หู ไหล่ ขาหน้า และขาหลังจะมีสีดำ หัวของหมีแพนด้า จะใหญ่เมื่อเทียบกับสัดส่วนของตัว กว่าหมีชนิดอื่นๆ เท้าหน้ามี 6 นิ้ว พร้อมที่จะกางกว้างออกเมื่อปะทะกัน หรือปีนต้นไม้ขนาดหมีแพนด้าเพศผู้ขนาดตัวโตเต็มที่ สูงประมาณ 160-190 ซม. จะสูงกว่าเพศเมียเล็กน้อย มีขาหน้าที่แข็งแรง และหนัก 85-125 กก. เพศเมียหนัก 70-100 กก. ลูกหมีเพิ่งคลอดหนักเพียง 85-140 กรัมถิ่นที่อยู่หมีแพนด้าจะอาศัยอยู่ที่ระดับสูง 1200-3500 เมตร ในป่าเขา ซึ่งมีต้นไม้ไผ่ขึ้นหนาแน่น

การกระจายจะพบหมีแพนด้าเพียงตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีน แนวเขตที่ราบสูงของ ทิเบต ใน 6 พื้นที่เล็กๆ ของจังหวัด Sichuan Gansu และ Shaanzi รวมแล้วมีพื้นที่เพียง 14000 ตร.กม.การสื่อสารหมีแพนด้าจะใช้กลิ่น อะซิติค ที่หลั่งออกมาจากบริเวณ ต่อมที่อยู่ใกล้ๆกับอวัยวะสืบพันธุ์ ไว้ตามต้นไม้ ก้อนหิน และใช้เสียงในการกำหนดขอบเขต โดยส่วนมากจะเป็นหมีเพศผู้ ส่วนการใช้เสียงของหมีเพศเมีย จะมีในช่วงที่จะผสมพันธุ์อาหารอาหารของหมีแพนด้า 99% จะมาจากต้นไผ่ ตัวโตเต็มที่ จะกิน 12-15 กก./วัน แต่ถ้าเป็น ต้นหรือใบอ่อนของต้นไผ่ หมีแพนด้าสามารถกินได้ถึง 38 กก/วัน ซึ่งหนักถึง 40%ของน้ำหนักตัวมันเอง และอาหารอีกที่เหลือ จะเป็นพืชชนิดอื่นๆ รวมทั้งเนื้อด้วย ส่วนมาก หมีแพนด้าจะกินอาหารที่พื้น บางครั้งถึงจะปีนขึ้นไป กินอาหารบนต้นไม้

การสืบพันธุ์หมีแพนด้าพร้อมที่จะขยายพันธุ์เมื่ออายุ 4.5-6.5 ปี จะจับคู่ช่วงฤดูใบไม้ผลิ ต้นเดือน มี.ค.-พ.ค.เพศเมียมีช่วงเวลาพร้อมที่จะผสมพันธุ์ 1-3 สัปห์ดา และ จะยอมให้มีการผสม 2-3 วันเท่านั้น จำนวนลูกที่คลอดออกมา มีเพียง 1-3 ตัว โดยปกติจะมีชีวิตรอดเพียงตัวเดียว ลูกหมีจะหย่านมเมื่ออายุ 9 เดือน แม่หมีแพนด้าจะคอยดูแลลูกตน จนกว่าจะถึง 18 เดือน
ระบบสังคมส่วนมากหมีแพนด้าจะอาศัยอยู่เพียงลำพัง ตัวเดียว ยกเว้นหมีแพนด้าแม่ลูกอ่อน ในช่วงฤดูกาลให้นมลูก หมีเพศผู้จะต่อสู้กัน เพื่อแย่งเข้าไป หากลุ่มแม่หมี อาณาเขตของหมีเพศเมีย ปกติแล้ว จะอาศัยซึ่งกันและกัน อาณาเขต จะซ้อนทับกันเป็นบางครั้ง ในขณะที่หมีแพนด้าเพศผู้ จะมีอาณาเขตที่กว้างครอบคลุมหมีเพศเมียทั้งหมด

วันศุกร์ที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2552

Eiffel Tower

Eiffel Tower



Named after its designer, engineer Gustave Eiffel, the Eiffel Tower is the tallest building in Paris.[1] More than 200,000,000 people have visited the tower since its construction in 1889,[2] including 6,719,200 in 2006,[3] making it the most visited paid monument in the world.[4][5] Including the 24 m (79 ft) antenna, the structure is 324 m (1,063 ft) high (since 2000), which is equivalent to about 81 levels in a conventional building.

At the time of completion in 1889, it was the world's tallest tower — a title it retained until 1930 when New York City's Chrysler Building (319 m — 1,047 ft tall) was completed.[6] The tower is now the fifth-tallest structure in France and the tallest structure in Paris, with the second-tallest being the Tour Montparnasse (210 m — 689 ft), although that will soon be surpassed by Tour AXA (225.11 m — 738.36 ft).

The metal structure of the Eiffel Tower weighs 7,300 tonnes while the entire structure including non-metal components is approximately 10,000 tonnes. Depending on the ambient temperature, the top of the tower may shift away from the sun by up to 18 cm (7 in) because of thermal expansion of the metal on the side facing the sun. The tower also sways 6–7 cm (2–3 in) in the wind.[3] As demonstration of the economy of design, if the 7300 tonnes of the metal structure were melted down it would fill the 125 meter square base to a depth of only 6 cm (2.36 in), assuming a density of the metal to be 7.8 tonnes per cubic meter. The tower has a mass less than the mass of the air contained in a cylinder of the same dimensions,[7] that is 324 meters high and 88.3 meters in radius. The weight of the tower is 10,100 tonnes compared to 10,265 tonnes of air.
The first and second levels are accessible by stairways and lifts. A ticket booth at the south tower base sells tickets to access the stairs which begin at that location. At the first platform the stairs continue up from the east tower and the third level summit is only accessible by lift. From the first or second platform the stairs are open for anyone to ascend or descend regardless of whether they have purchased a lift ticket or stair ticket. The actual count of stairs includes 9 steps to the ticket booth at the base, 328 steps to the first level, 340 steps to the second level and 18 steps to the lift platform on the second level. When exiting the lift at the third level there are 15 more steps to ascend to the upper observation platform. The step count is printed periodically on the side of the stairs to give an indication of progress of ascent. The majority of the ascent allows for an unhindered view of the area directly beneath and around the tower although some short stretches of the stairway are enclosed.
Maintenance of the tower includes applying 50 to 60 tonnes of paint every seven years to protect it from rust. In order to maintain a uniform appearance to an observer on the ground, three separate colors of paint are used on the tower, with the darkest on the bottom and the lightest at the top. On occasion the colour of the paint is changed; the tower is currently painted a shade of brownish-grey.
[8] On the first floor there are interactive consoles hosting a poll for the colour to use for a future session of painting. The co-architects of the Eiffel Tower are Emile Nouguier, Maurice Koechlin and Stephen Sauvestre.[9]

ย้อนรอย..ไข้หวัดใหญ่ แห่งประวัติศาสตร์(โลก)








ไข้หวัดหมู หรือไข้หวัดเม็กซิโก หรือ ไข้หวัด 2009 แล้วแต่เราจะเรียกกันนั้น จริงๆ แล้วมันก็คือไข้หวัดใหญ่ชนิดหนึ่ง เป็นสายพันธ์ใหม่ในคน เกิดจากเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ชนิดเอ (A) สายพันธุ์ เอช 1 เอ็น 1 (H1N1) แพร่ติดต่อระหว่างคนสู่คน โดยมีความจริงที่เราควรรู้ไว้ว่า มันไม่ได้ติดต่อจากหมูมาสู่คน จากที่ฮือฮากันช่วงแรกๆว่าเป็นไข้หวัดหมู แต่อย่างใด ซึ่ง การติดต่อของโรคนี้ก็เหมือนกับไข้หวัดใหญ่ทั่วๆไป คือ จะติดต่อผ่านเสมหะ น้ำลาย น้ำมูก หรือการไอจาม ในระยะใกล้ชิดจากคนป่วยมาสู่ตัวเรา





การป้องกันของไข้หวัดใหญ่ชนิดนี้ มีวิธีการทั่วๆไป คล้ายๆกับไข้หวัดใหญ่ ได้แก่


1 .หลีกเลี่ยงการอยู่ร่วมกันกับผู้ป่วย
2. หมั่นล้างมือ รักษาสภาพร่างกายให้สะอาด
3. หมั่นออกกำลังกายเพื่อให้ สุขภาพร่างกายแข็งแรง และมีภูมิต้านทานที่จะสู้กับไข้หวัดสายพันธ์นี้ได้
4. ไม่ควรอยู่ในสถานที่ ที่แออัด และ อากาศถ่ายเทได้ไม่สะดวก ควรจะอยู่ในที่โล่งมากกว่า
5. ไม่ควรอยู่หรือเดินทางไปยังประเทศ พื้นที่ ที่มีการแพร่ระบาดของโรค
เมื่อรู้ข้อมูลคร่าวๆ ของไข้หวัดสายพันธ์อันตรายสายพันธ์นี้แล้ว เรามาร่วมย้อนรอยไข้หวัดใหญ่ระบาด ทั้งในไทยและทั่วโลกกันเลยดีกว่า





เมื่อรู้ข้อมูลคร่าวๆ ของไข้หวัดสายพันธ์อันตรายสายพันธ์นี้แล้ว เรามาร่วมย้อนรอยไข้หวัดใหญ่ระบาด ทั้งในไทยและทั่วโลกกันเลยดีกว่า...


- คศ. 1580 - ครั้งแรกที่มีการบันทึกไว้ ไข้หวัดใหญ่ระบาดจากเอเชียมายังแอฟริกาและยุโรป สเปนแทบจะเป็นเมืองร้าง และโรมมีคนตายไป 8,000 คน คำว่า Influenza ก็เกิดขึ้นมาจากการระบาดรอบนี้ โดยมันมาจากภาษาอิตาลีว่า “influenza del freddo” หรือ “influence of the cold” ในภาษาอังกฤษ


- คศ. 1918/1919 - ไข้หวัดสเปน เป็นการระบาดครั้งที่ร้ายแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ของมนุษย์

เคยมีการคาดการณ์กันไว้ว่าตายไป 50-100 ล้านคน


- คศ. 1956/1958 - ไข้หวัดเอเชีย แต่เกิดในอเมริกา ตายไป 70,000 คน

ไวรัสเป็นชนิดเดียวกับตระกูล H2N2 ที่เคยระบาดในรัสเซีย


-คศ. 1968 - ไข้หวัดฮ่องกง เกิดในอเมริกาเช่นกัน ตายไป 33,800 คน แต่ถ้าใครติดหวัดเอเชีย

มาจะมีภูมิคุ้มกันเพราะเป็นสายเดียวกัน


-คศ. 1976 - ไข้หวัดหมู H1N1 เป็นหวัดสายพันธุ์เดียวกับหวัดสเปน คราวนี้เป็นแค่การตื่นตูม

มีคนตายเพราะหวัดหมูไปแค่คนเดียว อีก 25 คนตายเพราะวัคซีน


-คศ. 1977/1978 - ไข้หวัดรัสเซีย เป็นตระกูล H1N1 อีกเช่นกัน ที่น่าสนใจคือมันจะ

ติดเฉพาะคนที่มีอายุต่ำกว่า 25 ปีที่ยังไม่ค่อยพัฒนาภูมิต้านทาน


-คศ. 2003 - ไข้หวัดนก H5N1 มีอัตราตายสูงถึง 60% ถ้าติดหวัดชนิดนี้ แต่ว่าติดต่อจากคนไปสู่คนได้ยาก

และไวรัสเองมีชีวิตอยู่ได้ไม่นานพอที่จะระบาดได้นาน